สิ่งที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
สิ่งแรกที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้ นั่นก็คือความตรงต่อเวลา
และการแต่งกายที่ถูกระเบียบ สุภาพ เรียบร้อย ทั้งเครื่องแต่งกาย
และหน้าตา หนวดเคราก็ต้องจัดการให้หน้าตาดูสะอาด
วิชานี้ได้มีการเข้มงวดเรื่องการแต่งกายมาก ทำให้ตัวนักศึกษาเองต้องปฏิบัติตาม
ระเบียบอย่างเคร่งครัด อีกทั้งความมีระเบียบทางด้านการทำงานวิชาการ
การเขียนโครงการว่าควรทำอย่างไร มีการเชิญวิทยากรมาอธิบายและพูดถึงประสบการณ์
ของแต่ล่ะคนว่าเป็นอย่างไร ควรรับมือกับมันย่างไร อีกทั้งได้เรียนรู้ถึงการปรับตัวเข้าสู่สังคม
ในการเรียนรู้กับบุคคลอื่น
ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่ทำให้นักศึกษาที่เรียนวิชานี้ได้รับรู้
และได้ประสบการณ์จริงเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ขอบคุณครับ
วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552
DTS03 30/06/2552
เรื่อง Array and Record
อะเรย์เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะ
คล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์ คือ อะเรย์จะประกอบด้วยสมาชิกที่มีจำนวน
คงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน
ข้อกำหนดของการกำหนดค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดของ subscript คือ
1. ค่าต่ำสุดต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าสูงสุดเสมอ
2. ค่าต่ำสุด เรียกว่า ขอบเขตล่าง (lower bound)
3. ค่าสูงสุด เรียกว่า ขอบเขตบน (upper bound)
lower bound ≤ subscript ≤ upper bound
ขนาดของอะเรย์ = ผลคูณของขนาดของsubscript แต่ละตัว เช่น
ขนาดของอะเรย์ A = Upper bound – lower bound+1
= 10-1+1 = 10
การจัดเก็บอะเรย์ในหน่วยความจำหลัก จะพิจารณาตาม ประเภทของอะเรย์ในมิติต่าง ๆ ดังนี้
- อะเรย์ 1 มิติ
- อะเรย์ หลายมิติ
การส่งอะเรย์ให้ฟังก์ชัน
สามารถกำหนดอะเรย์เป็นพารามิเตอร์ส่งให้กับฟังก์ชันได้ 2 ลักษณะ
1. การกำหนด array element เป็นพารามิเตอร์ส่งค่าให้กับฟังก์ชัน ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุ
subscript
2. ส่งอะเรย์ทั้งชุดให้ฟังก์ชันทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มีsubscript
Record or Structure
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่างประเภทกัน รวมเป็น 1 ชุดข้อมูล
Structure
คือ โครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมีประเภทข้อมูลแตกต่างกันได้ โดยที่ใน structure
อาจมีสมาชิกเป็นจำนวนเต็ม ทศนิยม อักขระ อะเรย์
นิยาม structure
-struct เป็นคำหลักที่ต้องมีเสมอ
-struc-name ชื่อกลุ่ม structure
-type ชนิดของตัวแปรที่อยู่ในกลุ่ม structure
-name-n ชื่อของตัวแปรที่อยู่ในกลุ่ม structure
-struc-variable ชื่อตัวแปรชนิดโครงสร้าง
การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับสมาชิกของ structure
สามารถกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับสมาชิกของ structure ได้โดยค่าเริ่มต้นที่จะกำหนดให้กับสมาชิกตัวใด จะต้องอยู่ในตำแหน่งที่ตรงกับสมาชิกตัวนั้นค่าเริ่มต้นจะต้องอยู่ในวงเล็บปีกกาและข้อมูล
ค่าเริ่มต้นแต่ละตัวแยกกันด้วยเครื่องหมาย
Structure กับ pointer
เราสามารถที่จะอ้างถึงที่อยู่เริ่มต้นของ structure ได้เหมือนกับตัวแปรอื่นๆโดยใช้ตัวดำเนินการ &
การผ่าน structure ให้ฟังก์ชัน
ประเภทของการส่งผ่าน structureให้ฟังก์ชันนั้น มี 2 ประเภท คือ
1. ส่งสมาชิกแต่ละตัวของ structure
สมาชิกแต่ละตัวของ structure สามารถส่งเป็นอาร์กิวเมนต์ ของฟังก์ชันและส่งกลับจากฟังก์ชันได้โดยใช้คำสั่ง return ซึ่งมีทั้งการส่งค่าของตัวแปรที่อยู่ในตัวแปรstructure และก็ส่งตำแหน่งที่อยู่ของตัวแปรนั้น ๆ ไปยังฟังก์ชัน
2. ส่งทั้ง structure
จะส่งผ่านในลักษณะของพอยน์เตอร์ไปยัง structure โดยหลักการจะเหมือนกับการส่งผ่านอะเรย์ไปใหฟังก์ชัน ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่า Pass by reference
Pointer
Pointer เป็นตัวแปรชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บตำแหน่งที่อยู่ (Address) ของตัวแปรที่อยู่ในหน่วยความจำ
เครื่องหมายที่ใช้ทำงานกับตัวแปรพอยน์เตอร์
1. เครื่องหมาย & เป็นเครื่องหมายที่ใช้เมื่อต้องการให้เอาค่าตำแหน่งที่อยู่ของตัวแปรที่เก็บไว้ใน
หน่วยความจำออกมาใช้
2. เครื่องหมาย * มีการใช้งาน 2 ลักษณะ คือ
-ใช้ในการประกาศ parameter ว่าเป็นตัวแปรแบบพอยน์เตอร์
-ใช้เป็น dereferencing operator จะใช้เมื่อต้องการนำค่าที่อยู่ในตำแหน่งที่ตัวแปรพอยน์เตอร์นั้นชี้อยู่
ออกมาแสดง
อาจารย์ให้ส่งบล็อก และ การใช้ Structure โดยมีตัวแปล 8 ตัวแปล
อะเรย์เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะ
คล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์ คือ อะเรย์จะประกอบด้วยสมาชิกที่มีจำนวน
คงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน
ข้อกำหนดของการกำหนดค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดของ subscript คือ
1. ค่าต่ำสุดต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าสูงสุดเสมอ
2. ค่าต่ำสุด เรียกว่า ขอบเขตล่าง (lower bound)
3. ค่าสูงสุด เรียกว่า ขอบเขตบน (upper bound)
lower bound ≤ subscript ≤ upper bound
ขนาดของอะเรย์ = ผลคูณของขนาดของsubscript แต่ละตัว เช่น
ขนาดของอะเรย์ A = Upper bound – lower bound+1
= 10-1+1 = 10
การจัดเก็บอะเรย์ในหน่วยความจำหลัก จะพิจารณาตาม ประเภทของอะเรย์ในมิติต่าง ๆ ดังนี้
- อะเรย์ 1 มิติ
- อะเรย์ หลายมิติ
การส่งอะเรย์ให้ฟังก์ชัน
สามารถกำหนดอะเรย์เป็นพารามิเตอร์ส่งให้กับฟังก์ชันได้ 2 ลักษณะ
1. การกำหนด array element เป็นพารามิเตอร์ส่งค่าให้กับฟังก์ชัน ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุ
subscript
2. ส่งอะเรย์ทั้งชุดให้ฟังก์ชันทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มีsubscript
Record or Structure
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่างประเภทกัน รวมเป็น 1 ชุดข้อมูล
Structure
คือ โครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมีประเภทข้อมูลแตกต่างกันได้ โดยที่ใน structure
อาจมีสมาชิกเป็นจำนวนเต็ม ทศนิยม อักขระ อะเรย์
นิยาม structure
-struct เป็นคำหลักที่ต้องมีเสมอ
-struc-name ชื่อกลุ่ม structure
-type ชนิดของตัวแปรที่อยู่ในกลุ่ม structure
-name-n ชื่อของตัวแปรที่อยู่ในกลุ่ม structure
-struc-variable ชื่อตัวแปรชนิดโครงสร้าง
การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับสมาชิกของ structure
สามารถกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับสมาชิกของ structure ได้โดยค่าเริ่มต้นที่จะกำหนดให้กับสมาชิกตัวใด จะต้องอยู่ในตำแหน่งที่ตรงกับสมาชิกตัวนั้นค่าเริ่มต้นจะต้องอยู่ในวงเล็บปีกกาและข้อมูล
ค่าเริ่มต้นแต่ละตัวแยกกันด้วยเครื่องหมาย
Structure กับ pointer
เราสามารถที่จะอ้างถึงที่อยู่เริ่มต้นของ structure ได้เหมือนกับตัวแปรอื่นๆโดยใช้ตัวดำเนินการ &
การผ่าน structure ให้ฟังก์ชัน
ประเภทของการส่งผ่าน structureให้ฟังก์ชันนั้น มี 2 ประเภท คือ
1. ส่งสมาชิกแต่ละตัวของ structure
สมาชิกแต่ละตัวของ structure สามารถส่งเป็นอาร์กิวเมนต์ ของฟังก์ชันและส่งกลับจากฟังก์ชันได้โดยใช้คำสั่ง return ซึ่งมีทั้งการส่งค่าของตัวแปรที่อยู่ในตัวแปรstructure และก็ส่งตำแหน่งที่อยู่ของตัวแปรนั้น ๆ ไปยังฟังก์ชัน
2. ส่งทั้ง structure
จะส่งผ่านในลักษณะของพอยน์เตอร์ไปยัง structure โดยหลักการจะเหมือนกับการส่งผ่านอะเรย์ไปใหฟังก์ชัน ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่า Pass by reference
Pointer
Pointer เป็นตัวแปรชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บตำแหน่งที่อยู่ (Address) ของตัวแปรที่อยู่ในหน่วยความจำ
เครื่องหมายที่ใช้ทำงานกับตัวแปรพอยน์เตอร์
1. เครื่องหมาย & เป็นเครื่องหมายที่ใช้เมื่อต้องการให้เอาค่าตำแหน่งที่อยู่ของตัวแปรที่เก็บไว้ใน
หน่วยความจำออกมาใช้
2. เครื่องหมาย * มีการใช้งาน 2 ลักษณะ คือ
-ใช้ในการประกาศ parameter ว่าเป็นตัวแปรแบบพอยน์เตอร์
-ใช้เป็น dereferencing operator จะใช้เมื่อต้องการนำค่าที่อยู่ในตำแหน่งที่ตัวแปรพอยน์เตอร์นั้นชี้อยู่
ออกมาแสดง
อาจารย์ให้ส่งบล็อก และ การใช้ Structure โดยมีตัวแปล 8 ตัวแปล
DTS01 16/06/2552
โครงสร้างข้อมูล (DATA STRUCTURE)
ผู้สอน : อาจารย์ปรมัตถ์ปัญปรัชญ์ ต้องประสงค์
E-mail : phorramatpanyaprat@hotmail.com
การเก็บคะแนน 100 แบ่งออกเป็น60:40
*ความสำคัญของวิชาโครงสร้างข้อมูล
*โครงสร้างข้อมูล หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้น ๆ
ให้สร้าง บล็อกเป็นของตัวเอง เพื่อใช้ในราชการเท่านั้น
โดยก่อนจะสร้างบล็อกนั้น ต้องมี e-mail ของ gmail สะก่อน
ใครที่ไม่มีก็ให้สมัคร และให้ตั้งชื่อ gmail เป็น u ตามด้วยรหัสนักศึกษาของตัวเอง
เช่น u50132792088@gmail.com
ผู้สอน : อาจารย์ปรมัตถ์ปัญปรัชญ์ ต้องประสงค์
E-mail : phorramatpanyaprat@hotmail.com
การเก็บคะแนน 100 แบ่งออกเป็น60:40
*ความสำคัญของวิชาโครงสร้างข้อมูล
*โครงสร้างข้อมูล หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้น ๆ
ให้สร้าง บล็อกเป็นของตัวเอง เพื่อใช้ในราชการเท่านั้น
โดยก่อนจะสร้างบล็อกนั้น ต้องมี e-mail ของ gmail สะก่อน
ใครที่ไม่มีก็ให้สมัคร และให้ตั้งชื่อ gmail เป็น u ตามด้วยรหัสนักศึกษาของตัวเอง
เช่น u50132792088@gmail.com
วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552
Record 23/06/2552
#include<stdio.h>
#include<string.h>
void main()
{
struct televisonLCD
{
char customer[20];
char brand [10];
char colour [10];
char personal[20];
char model[10];
int amount;
int number_televison;
float total;
}tv;
strcpy(tv.customer,"Supphachai");
strcpy(tv.brand,"Sony");
strcpy(tv.colour,"Black");
strcpy(tv.personal,"Patcharapon");
strcpy(tv.model,"LCD");
tv.amount=1;
tv.number_televison=88;
tv.total=49999;
printf(" AOF TV ");
printf("Customer :%s\n",tv.customer);
printf("Brand :%s\n",tv.brand);
printf("Colour :%s\n",tv.colour);
printf("Personal :%s\n",tv.personal);
printf("Model :%s\n",tv.model);
printf("Amount :%d\n",tv.amount);
printf("Number_TV :%d\n",tv.number_televison);
printf("Price :%.2f\n",tv.total);
}
#include<string.h>
void main()
{
struct televisonLCD
{
char customer[20];
char brand [10];
char colour [10];
char personal[20];
char model[10];
int amount;
int number_televison;
float total;
}tv;
strcpy(tv.customer,"Supphachai");
strcpy(tv.brand,"Sony");
strcpy(tv.colour,"Black");
strcpy(tv.personal,"Patcharapon");
strcpy(tv.model,"LCD");
tv.amount=1;
tv.number_televison=88;
tv.total=49999;
printf(" AOF TV ");
printf("Customer :%s\n",tv.customer);
printf("Brand :%s\n",tv.brand);
printf("Colour :%s\n",tv.colour);
printf("Personal :%s\n",tv.personal);
printf("Model :%s\n",tv.model);
printf("Amount :%d\n",tv.amount);
printf("Number_TV :%d\n",tv.number_televison);
printf("Price :%.2f\n",tv.total);
}
DTS02 23/06/2552
โครงสร้างข้อมูล คือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้างนั้นๆ รวมทั้งกระบวณการในการจัดการข้อมูลในโครงสร้าง เช่น เพิ่ม แก้ไข ลบ
ประเภทของโครงสร้างข้อมูล
ในภาษาคอมพิวเตอร์จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ
- เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ใช้โดยทั่วไปในภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.1 ข้อมูลเบื้องต้น Primitive Data Types ได้แก่ จำนวนเต็ม จำนวนจริง และตัวอักขระ
1.2 ข้อมูลโครงสร้าง Structured Data Types ได้แก่ แถวลำดับ ระเบียนข้อมูล และแฟ้มข้อมูล
2.โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ
-เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เกิดจากการจินตนาการของผู้ใช้เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาในโปรแกรมที่สร้างขึ้น แบ่งเป็น 2 ประเภท
2.1 โครงสร้างข้อมูลเชิงเส้น Linear Data Structures ความสัมพันธ์ของข้อมูลจะเรียงต่อเนื่องกัน เช่น ลิสต์ สแตก คิว สตริง
2.2 โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ Non-Linear Data Structures ข้อมูลแต่ละตัวสามารถมีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นได้หลายตัวได้แก่ ทรี และกราฟ
การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลัก
-ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะมีการแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลักอยู่ 2 วิธี คือ
1.การแทนที่ข้อมูลแบบ สแตติก Static Memor Representation เป็นการจองเนื้อที่แบบคงที่แน่นอนต้องมีการกำหนดขนาดก่อนการใช้งาน แต่มีข้อเสีย คือไม่สามารถปรับขนาดได้
2.การแทนที่ข้อมูลแบบ ไดนามิก Dynamic Memory Represention เป็นการแทนที่ข้อมูลโดยไม่ต้องจองเนื้อที่ ขนาดของเนื้อที่ยึดหยุ่น โครงสร้างข้อมูลที่มีการแทนที่หน่วยความจำหลักแบบไดนามิก คือ ตัวชี้ หรือ พอยเตอร์ pointer
ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
1. มีความถูกต้อง
2. ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3. สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
4. ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด
5. มีความยืดหนุ่นในการใช้งาน
6. ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
7. ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
ขั้นตอนวิธี Algorithm
เป็นภาษาสำหรับเขียนขั้นตอนวิธี มีรูปแบบที่สั้น กระชับและรัดกุมและมีข้อกำหนด ดังต่อไปนี้
1. ตัวแปรจะต้องเขียนแทนด้วยตัวอักษรหรือตัวอักษรผสมตัวเลข
2. การกำหนดค่าให้ตัวแปร ใช้เครื่องหมาย
3.นิพจน์ที่เป็นการคำนวณ จะมีลำดับขั้นของการคำนวณ ตามลำดับนิพจน์ที่เป็นตรรกศาสตร์ จะใช้เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ คือ= เท่ากับ = ไม่เท่ากับ< น้อยกว่า > มากกว่า≤ น้อยกว่าหรือเท่ากับ ≥ มากกว่าหรือเท่ากับ
4. ข้อความไปยังขั้นตอน ใช้รูปแบบ คือgoto เลขที่ขั้นตอน
5. การเลือกทำตามเงื่อนไข จะต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทำงาน มีรูปแบบดังนี้
- แบบทางเลือกเดียว ใช้รูปแบบ คือif (condition) then statement 1
- แบบสองทางเลือก ใช้รูปแบบ คือif (condition) then statement 1
else statement
6. การทำงานแบบซ้ำ
- แบบทดสอบเงื่อนไขที่ต้นวงรอบ มีรูปแบบ ดังนี้while (condition) dostatement
- แบบทำซ้ำด้วยจำนวนครั้งของการทำซ้ำคงที่ มีรูปแบบfor a=b to n by c dostatement
7. คำอธิบาย เป็นข้อความที่อธิบายรายละเอียดของขั้นตอนการทำงาน จะอยู่ในเครื่องหมาย / และ /
ภาษาธรรมชาติ
ภาษาธรรมชาติ เป็นการเขียนขั้นตอนวิธีโดยใช้ภาษาเขียน จะบอกลำดับขั้นตอนการทำงานตั้งแต่แรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย
วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ประวัติ
นาย พัชรพล กาญจนสำราญวงศ์ รหัสประจำตัว 50132792088
Mr.Patcharapon Kanjanasomranwong
หลักสูตร การบริหารธุรกิจ(คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะ วิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
E-mail :u50132792088@gmail.com
Mr.Patcharapon Kanjanasomranwong
หลักสูตร การบริหารธุรกิจ(คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะ วิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
E-mail :u50132792088@gmail.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)